สลับฉากด้วยรายการ TV การแข่งขัน Britain's got telent
Connie Talbot น่าประทับใจมากกับเด็กอายุ 6 ขวบคนนี้
Paul Potts เป็นหนังดราม่าเลยครับ
ร้องไห้เลย
วันเสาร์, มิถุนายน 23, 2550
วันศุกร์, มิถุนายน 22, 2550
อ่าน Agile Web Development with Rails ( 8 )
ทีนี้ลองดัดแปลง cart ให้มีส่วนของจำนวนสินค้าด้วย
เพิ่ม model ดังนี้ app/models/cart_item.rb
class CartItem
attr_reader :product, :quantity
def initialize(product)
@product = product
@quantity = 1
end
def increment_quantity
@quantity += 1
end
def title
@product.title
end
def price
@product.price * @quantity
end
end
แก้ไฟล์ app/models/cart.rb เพิ่ม mothod นี้
def add_product(product)
current_item = @items.find {|item| item.product == product}
if current_item
current_item.increment_quantity
else
@items << CartItem.new(product)
end
end
แล้วแก้ app/views/store/add_to_cart.rhtml ให้เป็นดังนี้
Your Pragmatic Cart
<ul>
<% for cart_item in @cart.items %>
<li><%= cart_item.quantity %> × <%= h(cart_item.title) %></li>
<% end %>
</ul>
แก้เสร็จแล้วต้อง
rake db:sessions:clear
เพื่อล้างข้อมูล sessions เก่าที่เก็บไว้ใน database
ตอนนี้สั้นๆแค่นี้เอง ถือว่าพักผ่อน
เพิ่ม model ดังนี้ app/models/cart_item.rb
class CartItem
attr_reader :product, :quantity
def initialize(product)
@product = product
@quantity = 1
end
def increment_quantity
@quantity += 1
end
def title
@product.title
end
def price
@product.price * @quantity
end
end
แก้ไฟล์ app/models/cart.rb เพิ่ม mothod นี้
def add_product(product)
current_item = @items.find {|item| item.product == product}
if current_item
current_item.increment_quantity
else
@items << CartItem.new(product)
end
end
แล้วแก้ app/views/store/add_to_cart.rhtml ให้เป็นดังนี้
Your Pragmatic Cart
<ul>
<% for cart_item in @cart.items %>
<li><%= cart_item.quantity %> × <%= h(cart_item.title) %></li>
<% end %>
</ul>
แก้เสร็จแล้วต้อง
rake db:sessions:clear
เพื่อล้างข้อมูล sessions เก่าที่เก็บไว้ใน database
ตอนนี้สั้นๆแค่นี้เอง ถือว่าพักผ่อน
อ่าน Agile Web Development with Rails ( 7 )
คราวนี้เราจะมาดูเรื่อง cart กันครับ โดยจะเก็บข้อมูล cart ไว้ใน session
Rails เตรียมเรื่องนี้ไว้ให้แล้ว เราสามารถเพิ่ม session เข้าไปใน data model ดังนี้
rake db:sessions:create
จะได้ไฟล์ db/migrate/004_add_sessions.rb ขึ้นมา แล้วก็
rake db:migrate
table ชื่อ sessions จะถูกสร้างขึ้นมาครับ
สิ่งที่เราต้องทำต่อคือ เปิดไฟล์ config/environment.rb เข้าไปปลด # ให้บรรทัดนี้ทำงาน
config.action_controller.session_store = :active_record_store
เพราะ default จะบันทึกข้อมูลใน session ลงไฟล์ครับ
ต้อง restart เว็บเซิร์ฟเวอร์ใหม่ session ถึงจะเริ่มทำงานครับ
ขั้นต่อไปคือการสร้าง data model ของ cart โดยสร้างไฟล์ชื่อ app/model/cart.rb ดังนี้
class Cart
attr_reader :items
def initialize
@items = []
end
def add_product(product)
@items << product
end
end
โปรดสังเกตว่าเราไม่สร้างไฟล์นี้โดย script/generate เพราะอันนั้นใช้สร้างเฉพาะ model ที่เชื่อมต่อกับ table ในฐานข้อมูลโดยตรงครับ กรณีนี้ไม่ใช่ คราวนี้ไปที่ app/controllers/store_controller.rb เพิ่ม 2 method นี้เข้าไป
private
def find_cart
session[:cart] ||= Cart.new
end
def add_to_cart
@cart = find_cart
product = Product.find(params[:id])
@cart.add_product(product)
end
ยังจำได้ไหมครับ ตอนที่แล้ว ใน app/views/store/index.rhtml มีบรรทัดนี้อยู่
<%= button_to "Add to Cart" , :action => :add_to_cart, :id => product %>
ถ้าเราเรียกตอนนี้ก็จะขึ้น error เพราะยังไม่ได้กำหนด view ให้เลย
ก็ต้องสร้างไฟล์ app/views/store/add_to_cart.rhtml
<ul>
<% for item in @cart.items %>
<li><%= h(item.title) %></li>
<% end %>
</ul>
ทีนี้ cart ก็เริ่มใช้งานได้แล้วครับ
Rails เตรียมเรื่องนี้ไว้ให้แล้ว เราสามารถเพิ่ม session เข้าไปใน data model ดังนี้
rake db:sessions:create
จะได้ไฟล์ db/migrate/004_add_sessions.rb ขึ้นมา แล้วก็
rake db:migrate
table ชื่อ sessions จะถูกสร้างขึ้นมาครับ
สิ่งที่เราต้องทำต่อคือ เปิดไฟล์ config/environment.rb เข้าไปปลด # ให้บรรทัดนี้ทำงาน
config.action_controller.session_store = :active_record_store
เพราะ default จะบันทึกข้อมูลใน session ลงไฟล์ครับ
ต้อง restart เว็บเซิร์ฟเวอร์ใหม่ session ถึงจะเริ่มทำงานครับ
ขั้นต่อไปคือการสร้าง data model ของ cart โดยสร้างไฟล์ชื่อ app/model/cart.rb ดังนี้
class Cart
attr_reader :items
def initialize
@items = []
end
def add_product(product)
@items << product
end
end
โปรดสังเกตว่าเราไม่สร้างไฟล์นี้โดย script/generate เพราะอันนั้นใช้สร้างเฉพาะ model ที่เชื่อมต่อกับ table ในฐานข้อมูลโดยตรงครับ กรณีนี้ไม่ใช่ คราวนี้ไปที่ app/controllers/store_controller.rb เพิ่ม 2 method นี้เข้าไป
private
def find_cart
session[:cart] ||= Cart.new
end
def add_to_cart
@cart = find_cart
product = Product.find(params[:id])
@cart.add_product(product)
end
ยังจำได้ไหมครับ ตอนที่แล้ว ใน app/views/store/index.rhtml มีบรรทัดนี้อยู่
<%= button_to "Add to Cart" , :action => :add_to_cart, :id => product %>
ถ้าเราเรียกตอนนี้ก็จะขึ้น error เพราะยังไม่ได้กำหนด view ให้เลย
ก็ต้องสร้างไฟล์ app/views/store/add_to_cart.rhtml
<ul>
<% for item in @cart.items %>
<li><%= h(item.title) %></li>
<% end %>
</ul>
ทีนี้ cart ก็เริ่มใช้งานได้แล้วครับ
วันพฤหัสบดี, มิถุนายน 21, 2550
อ่าน Agile Web Development with Rails ( 6 )
ตอนที่แล้วเรายุ่งอยู่กับหลังบ้านของ depot คราวนี้มาจัดหน้าบ้านบ้างครับ
เราจะสร้าง controller ใหม่ขึ้นมาอีกอันหนึ่ง ให้ชื่อว่า store
ruby script/generate controller store index
index ที่แปะท้ายเพิ่มมาจากที่เราคุ้นเคยนั้นมีเพื่อบอกให้ Rails สร้าง action ชื่อ index ใส่ไว้ใน controller นี้ด้วยครับ
การทำอย่างนี้ นอกจาก Rails จะสร้าง app/controllers/store_controller.rb แล้ว ยังสร้าง app/views/store/index.rhtml ให้เราด้วยเลย
ที่ app/controllers/store_controller.rb เราจัดการแก้โค้ดให้เป็นดังนี้
class StoreController < ApplicationController
def index
@products = Product.find_products_for_sale
end
end
แล้วเราก็ไปแก้ product model เพิ่ม mothod ชื่อ find_products_for_sale เข้าไปดังนี้
def self.find_products_for_sale
find(:all, :order => "title" )
end
คำสั่ง find จะคืนค่ากลับมาเป็น array ของข้อมูลจาก product ที่มีเงื่อนไข :all (เอาหมด) และเรียงลำดับตามฟิลด์ "title" ที่ระบุโดย :order => "title"
คราวนี้ไปจัดการกับ app/views/store/index.rhtml ให้เป็นอย่างนี้
คำสั่ง h() ใช้ถอด HTML Elements ออกจากข้อความ
- ที่อยู่นำหน้า %> ใช้ บอกให้ไม่ต้องขึ้นบรรทัดใหม่หลังคำสั่งนี้
ส่วนเจ้า add_to_cart นี่เราจะไปคุยกันตอนหน้าครับ
เราจะสร้าง controller ใหม่ขึ้นมาอีกอันหนึ่ง ให้ชื่อว่า store
ruby script/generate controller store index
index ที่แปะท้ายเพิ่มมาจากที่เราคุ้นเคยนั้นมีเพื่อบอกให้ Rails สร้าง action ชื่อ index ใส่ไว้ใน controller นี้ด้วยครับ
การทำอย่างนี้ นอกจาก Rails จะสร้าง app/controllers/store_controller.rb แล้ว ยังสร้าง app/views/store/index.rhtml ให้เราด้วยเลย
ที่ app/controllers/store_controller.rb เราจัดการแก้โค้ดให้เป็นดังนี้
class StoreController < ApplicationController
def index
@products = Product.find_products_for_sale
end
end
แล้วเราก็ไปแก้ product model เพิ่ม mothod ชื่อ find_products_for_sale เข้าไปดังนี้
def self.find_products_for_sale
find(:all, :order => "title" )
end
คำสั่ง find จะคืนค่ากลับมาเป็น array ของข้อมูลจาก product ที่มีเงื่อนไข :all (เอาหมด) และเรียงลำดับตามฟิลด์ "title" ที่ระบุโดย :order => "title"
คราวนี้ไปจัดการกับ app/views/store/index.rhtml ให้เป็นอย่างนี้
Your Pragmatic Catalog
<% for product in @products -%>
<div class="entry" >
<img src="<%= product.image_url %>" />
<%= h(product.title) %>
<%= product.description %>
<%= number_to_currency(product.price) %>
<%= button_to "Add to Cart" , :action => :add_to_cart, :id => product %>
</div>
<% end %>
คำสั่ง h() ใช้ถอด HTML Elements ออกจากข้อความ
- ที่อยู่นำหน้า %> ใช้ บอกให้ไม่ต้องขึ้นบรรทัดใหม่หลังคำสั่งนี้
ส่วนเจ้า add_to_cart นี่เราจะไปคุยกันตอนหน้าครับ
อ่าน Agile Web Development with Rails ( 5 )
จากตอนที่แล้ว คำสั่ง scaffold ใน controller มีอิทธิฤทธิ์ยิ่งนัก สามารถสร้างสิ่งมหัศจรรย์จากสูญญากาศ
แต่สุดยอดวิชาย่อมต้องมีจุดอ่อน อะไรที่ดีมากๆ จุดอ่อนก็คือ มันดีเกินไป
คือมันสมบูรณ์แบบเกินไปครับ สมบูรณ์แบบจนไม่รู้จะไปแก้ไขตรงไหนดี เพราะไม่มีที่ให้แก้ให้ปรับเลย
แต่ทางออกย่อมมีเสมอ เมื่อมี dynamic scaffold ก็ย่อมต้องมี static scaffold อยู่คู่กัน เป็นอีกทางเลือกหนึ่งซึ่งยุ่งยากกว่านิดหน่อย แต่ก็สามารถพลิกแพลงได้หลากหลายกว่ามากครับ
ruby script/generate scaffold product admin
product บอก model ที่ใช้ ในขณะที่
admin ระบุ controller ครับ
สิ่งสำคัญที่เราได้จากการนี้คือ rhtml หนึ่งพวงใหญ่อยู่ใน /app/views/admin/
ทีนี้อยากแก้ตรงไหนก็ตามสบายเลยครับ
เมื่อส่วนที่ rhtml พวกนี้จัดการคือ html ย่อมต้องมีส่วนของ css อยู่ที่ไหนสักที่
นั่นคือ public/stylesheets/ ครับ โดยปกติถ้าไม่ระบุ css file ที่ใช้ public/stylesheets/scaffold.css จะถูกเรียกใช้ by default ครับ
หากเราต้องการเปลี่ยนไปใช้ css file อื่น ก็ควรสร้างและเก็บไว้ที่ public/stylesheets/ นี้เช่นเดียวกันครับ
ส่วนที่ระบุเรื่อง css นี้จะเก็บแยกอยู่ใน app/views/layouts/con_name.rhtml ครับ ไฟล์นี้จะถูกสร้างตอนที่เราใช้คำสั่ง ruby script/generate scaffold model_name con_name ครับ
เปิดไฟล์ layout นี้ดูแล้วมองหาส่วนที่กำหนด css ครับ
<%= stylesheet_link_tag 'scaffold' %>
สมมติว่าเราอยากให้ใช้ depot.css ด้วยก็แก้เป็น
<%= stylesheet_link_tag 'scaffold' , 'depot' %>
แค่นี้เองครับ
แต่สุดยอดวิชาย่อมต้องมีจุดอ่อน อะไรที่ดีมากๆ จุดอ่อนก็คือ มันดีเกินไป
คือมันสมบูรณ์แบบเกินไปครับ สมบูรณ์แบบจนไม่รู้จะไปแก้ไขตรงไหนดี เพราะไม่มีที่ให้แก้ให้ปรับเลย
แต่ทางออกย่อมมีเสมอ เมื่อมี dynamic scaffold ก็ย่อมต้องมี static scaffold อยู่คู่กัน เป็นอีกทางเลือกหนึ่งซึ่งยุ่งยากกว่านิดหน่อย แต่ก็สามารถพลิกแพลงได้หลากหลายกว่ามากครับ
ruby script/generate scaffold product admin
product บอก model ที่ใช้ ในขณะที่
admin ระบุ controller ครับ
สิ่งสำคัญที่เราได้จากการนี้คือ rhtml หนึ่งพวงใหญ่อยู่ใน /app/views/admin/
ทีนี้อยากแก้ตรงไหนก็ตามสบายเลยครับ
เมื่อส่วนที่ rhtml พวกนี้จัดการคือ html ย่อมต้องมีส่วนของ css อยู่ที่ไหนสักที่
นั่นคือ public/stylesheets/ ครับ โดยปกติถ้าไม่ระบุ css file ที่ใช้ public/stylesheets/scaffold.css จะถูกเรียกใช้ by default ครับ
หากเราต้องการเปลี่ยนไปใช้ css file อื่น ก็ควรสร้างและเก็บไว้ที่ public/stylesheets/ นี้เช่นเดียวกันครับ
ส่วนที่ระบุเรื่อง css นี้จะเก็บแยกอยู่ใน app/views/layouts/con_name.rhtml ครับ ไฟล์นี้จะถูกสร้างตอนที่เราใช้คำสั่ง ruby script/generate scaffold model_name con_name ครับ
เปิดไฟล์ layout นี้ดูแล้วมองหาส่วนที่กำหนด css ครับ
<%= stylesheet_link_tag 'scaffold' %>
สมมติว่าเราอยากให้ใช้ depot.css ด้วยก็แก้เป็น
<%= stylesheet_link_tag 'scaffold' , 'depot' %>
แค่นี้เองครับ
อ่าน Agile Web Development with Rails ( 4 )
ทีนี้ลองปรับเปลี่ยน product ดู
ruby script/generate migration add_price
จะได้ไฟล์สำคัญที่ชื่อ db/migrate/002_add_price.rb
ยังจำได้ไหมว่าครั้งที่แล้วเรา generate model product แล้วได้ db/migrate/001_create_products.rb มา
เลข 001, 002 นี้ Rails สร้างขึ้นเพื่อควมคุมลำดับของการเปลี่ยนแปลง data model
ทีนี้แก้ไข db/migrate/002_add_price.rb ให้เป็นอย่างนี้
class AddPrice < precision =""> 8, :scale => 2, :default => 0
end
def self.down
remove_column :products, :price
end
end
แล้ว rake db:migrate
เรียก http://host_name/admin คงพอเดาได้ไม่ยากนะครับว่าจะเกิดอะไรขึ้น
ทีนี้ลองไปที่ app/models/product.rb แล้วใส่โค้ดเพิ่มเติมเข้าไป
class Product < ActiveRecord::Base
validates_presence_of :title, :description, :image_url
validates_numericality_of :price
validates_uniqueness_of :title
validates_format_of :image_url,
:with => %r{\.(gif|jpg|png)$}i,
:message => "must be a URL for a GIF, JPG, or PNG image"
protected
def validate
errors.add(:price, "should be at least 0.01" ) if price.nil? || price < 0.01
end
end
พระเจ้าจ๊อดมันยอดมากเลยใช่ไหมครับ model มันมีไว้ทำงี้นี่เอง
ruby script/generate migration add_price
จะได้ไฟล์สำคัญที่ชื่อ db/migrate/002_add_price.rb
ยังจำได้ไหมว่าครั้งที่แล้วเรา generate model product แล้วได้ db/migrate/001_create_products.rb มา
เลข 001, 002 นี้ Rails สร้างขึ้นเพื่อควมคุมลำดับของการเปลี่ยนแปลง data model
ทีนี้แก้ไข db/migrate/002_add_price.rb ให้เป็นอย่างนี้
class AddPrice < precision =""> 8, :scale => 2, :default => 0
end
def self.down
remove_column :products, :price
end
end
แล้ว rake db:migrate
เรียก http://host_name/admin คงพอเดาได้ไม่ยากนะครับว่าจะเกิดอะไรขึ้น
ทีนี้ลองไปที่ app/models/product.rb แล้วใส่โค้ดเพิ่มเติมเข้าไป
class Product < ActiveRecord::Base
validates_presence_of :title, :description, :image_url
validates_numericality_of :price
validates_uniqueness_of :title
validates_format_of :image_url,
:with => %r{\.(gif|jpg|png)$}i,
:message => "must be a URL for a GIF, JPG, or PNG image"
protected
def validate
errors.add(:price, "should be at least 0.01" ) if price.nil? || price < 0.01
end
end
พระเจ้าจ๊อดมันยอดมากเลยใช่ไหมครับ model มันมีไว้ทำงี้นี่เอง
อ่าน Agile Web Development with Rails ( 3 )
ตอนที่แล้วทำให้เห็นภาพของสององค์ประกอบหลักในสถาปัตยกรรม MVC ใน Rails ยังขาดอยู่อีกตัวหนึ่งคือ M - Model ซึ่งเราจะได้เห็นกันในระหว่างการทดลองสร้าง application ตัวอย่างที่ชื่อ depot นี้ครับ
Rails รองรับการใช้งานฐานข้อมูลหลายตัว เราสามารถกำหนดได้ว่าจะใช้ตัวไหนตั้งแต่ตอนสร้าง application เช่น
rails app_name --database=oracle
หากไม่กำหนดดังนี้ rails จะเลือกใช้ค่า default คือ mysql ครับ
นอกจากนี้เรายังสามารถแก้ไขโดยตรงในไฟล์ config/database.yml พร้อมกับการกำหนดชื่อฐานข้อมูล และ username/password ก็ได้
Rails ไม่ได้บังคับเรื่องชื่อของฐานข้อมูลที่ใช้ แต่ตามข้อตกลงแล้ว ควรจะเป็นชื่อเดียวกับ application_*
เช่น application ชื่อ depot ฐานข้อมูลที่ใช้ระหว่างพัฒนาก็ควรเป็น depot_development
เมื่อกำหนดข้อมูลใน config/database.yml แล้ว สามารถทดสอบ config ได้โดย
rake db:migrate
เจ้า rake นี่ก็คือ make ของ ruby นั่นเองครับ
อ้อ... อย่าลืม create database และ user พร้อมกำหนดสิทธิ์ให้เรียบร้อยก่อน rake นะครับ ไม่งั้นไม่ผ่านแน่ๆครับ
เอาเป็นว่าตอนนี้เราสร้าง app ชื่อ depot และอยู่ใน working directory แล้ว โดยมีฐานข้อมูลพร้อมแล้วด้วยนะครับ
ทีนี้ก็กำหนด data model สำหรับสินค้าใน depot ชื่อโมเดล (และตาราง) คือ product ครับ
ruby script/generate model product
จะได้ไฟล์มากองนึง แต่ที่น่าสนใจมี 2 ไฟล์คือ app/models/product.rb และ db/migrate/001_create_products.rb (โปรดสังเกตว่าอันหลังมี s แถมท้ายชื่อ model มาให้ด้วย)
ไฟล์ app/models/product.rb คือตัว model ซึ่งเราจะมาดูทีหลังครับ
ตอนนี้ดูที่ db/migrate/001_create_products.rb กันก่อน เราจะแก้ไขไฟล์นี้ให้เป็นอย่างนี้ครับ
class CreateProducts < ActiveRecord::Migration
def self.up
create_table :products do |t|
t.column :title, :string
t.column :description, :text
t.column :image_url, :string
end
end
def self.down
drop_table :products
end
end
method ชื่อ up จะถูกเรียกให้ทำงานเมื่อเราสั่ง rake db:migrate
จะจัดการสร้าง table ชื่อ productsให้เราครับ
วิธีนี้ทำให้การพัฒนา application สะดวกขึ้น เพราะสามารถควบคุม version ได้
กรณีนี้ ถ้าเรียก rake db:migrate -VERSION=0 เจ้า method ชื่อ down ก็จะถูกเรียก tabel ชื่อ products ก็จะหายไป
การ rake db:migrate โดยไม่ระบุ VERSION ก็จะสร้าง VERSION ปัจจุบัน ทั้งนี้ Rails จะรู้ได้ว่า VERSION ในฐานข้อมูลคือ VERSION ไหนได้โดยสร้าง table ชื่อ schema info มาเก็บค่า VERSION ไว้ครับ
ทีนี้มาสร้าง controller ที่ใช้จัดการ products
ruby script/generate controller admin
เช่นเดิม เราจะสนใจเฉพาะ app/controllers/admin_controller.rb โดยเข้าไปเพิ่มเพียงหนึ่งบรรทัดให้เป็นอย่างนี้
class AdminController < ApplicationController
scaffold :product
end
คำสั่ง scaffold ใช้กำหนดให้ Rails สร้างโค้ดสำหรับจัดการ ข้อมูลใน model product ระหว่าง runtime
ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อ เรียก http://host_name/admin จะเห็นได้ว่าเราสามารถจัดการกับข้อมูลใน product ได้แล้ว ทั้ง add, edit, remove ได้หมดเลย
คำสั่งเดียวแท้ๆ
Rails รองรับการใช้งานฐานข้อมูลหลายตัว เราสามารถกำหนดได้ว่าจะใช้ตัวไหนตั้งแต่ตอนสร้าง application เช่น
rails app_name --database=oracle
หากไม่กำหนดดังนี้ rails จะเลือกใช้ค่า default คือ mysql ครับ
นอกจากนี้เรายังสามารถแก้ไขโดยตรงในไฟล์ config/database.yml พร้อมกับการกำหนดชื่อฐานข้อมูล และ username/password ก็ได้
Rails ไม่ได้บังคับเรื่องชื่อของฐานข้อมูลที่ใช้ แต่ตามข้อตกลงแล้ว ควรจะเป็นชื่อเดียวกับ application_*
เช่น application ชื่อ depot ฐานข้อมูลที่ใช้ระหว่างพัฒนาก็ควรเป็น depot_development
เมื่อกำหนดข้อมูลใน config/database.yml แล้ว สามารถทดสอบ config ได้โดย
rake db:migrate
เจ้า rake นี่ก็คือ make ของ ruby นั่นเองครับ
อ้อ... อย่าลืม create database และ user พร้อมกำหนดสิทธิ์ให้เรียบร้อยก่อน rake นะครับ ไม่งั้นไม่ผ่านแน่ๆครับ
เอาเป็นว่าตอนนี้เราสร้าง app ชื่อ depot และอยู่ใน working directory แล้ว โดยมีฐานข้อมูลพร้อมแล้วด้วยนะครับ
ทีนี้ก็กำหนด data model สำหรับสินค้าใน depot ชื่อโมเดล (และตาราง) คือ product ครับ
ruby script/generate model product
จะได้ไฟล์มากองนึง แต่ที่น่าสนใจมี 2 ไฟล์คือ app/models/product.rb และ db/migrate/001_create_products.rb (โปรดสังเกตว่าอันหลังมี s แถมท้ายชื่อ model มาให้ด้วย)
ไฟล์ app/models/product.rb คือตัว model ซึ่งเราจะมาดูทีหลังครับ
ตอนนี้ดูที่ db/migrate/001_create_products.rb กันก่อน เราจะแก้ไขไฟล์นี้ให้เป็นอย่างนี้ครับ
class CreateProducts < ActiveRecord::Migration
def self.up
create_table :products do |t|
t.column :title, :string
t.column :description, :text
t.column :image_url, :string
end
end
def self.down
drop_table :products
end
end
method ชื่อ up จะถูกเรียกให้ทำงานเมื่อเราสั่ง rake db:migrate
จะจัดการสร้าง table ชื่อ productsให้เราครับ
วิธีนี้ทำให้การพัฒนา application สะดวกขึ้น เพราะสามารถควบคุม version ได้
กรณีนี้ ถ้าเรียก rake db:migrate -VERSION=0 เจ้า method ชื่อ down ก็จะถูกเรียก tabel ชื่อ products ก็จะหายไป
การ rake db:migrate โดยไม่ระบุ VERSION ก็จะสร้าง VERSION ปัจจุบัน ทั้งนี้ Rails จะรู้ได้ว่า VERSION ในฐานข้อมูลคือ VERSION ไหนได้โดยสร้าง table ชื่อ schema info มาเก็บค่า VERSION ไว้ครับ
ทีนี้มาสร้าง controller ที่ใช้จัดการ products
ruby script/generate controller admin
เช่นเดิม เราจะสนใจเฉพาะ app/controllers/admin_controller.rb โดยเข้าไปเพิ่มเพียงหนึ่งบรรทัดให้เป็นอย่างนี้
class AdminController < ApplicationController
scaffold :product
end
คำสั่ง scaffold ใช้กำหนดให้ Rails สร้างโค้ดสำหรับจัดการ ข้อมูลใน model product ระหว่าง runtime
ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อ เรียก http://host_name/admin จะเห็นได้ว่าเราสามารถจัดการกับข้อมูลใน product ได้แล้ว ทั้ง add, edit, remove ได้หมดเลย
คำสั่งเดียวแท้ๆ
อ่าน Agile Web Development with Rails ( 2 )
เราสร้าง application โดย Rails โดย
rails app_name
ซึ่งจะสร้าง directory ชื่อ app_name และไฟล์อะไรกระจุกกระจิกจำนวนหนึ่งซึ่งเราจะยังไม่สนใจตอนนี้
cd app_name
ทีนี้สร้าง controller โดยใช้คำสั่ง
ruby script/generate controller con_name
ซึ่งจะสร้างไฟล์หลายไฟล์เหมือนกัน แต่เราจะสนใจแค่อันเดียวก่อนคือ app/controllers/con_name_controllers.rb ซึ่งเป็น class กลวงๆอันนึง หากเราสร้าง method ขึ้นมาใน class นี้ จะเรียกว่าเป็น action
action นี้จะทำงานเมื่อเราเรียก http://host_name/con_name/action_name
แต่เราต้องกำหนดรูปแบบการแสดงผลให้ด้วยโดยการสร้าง view ขึ้นมา โดย view ที่จะตอบสนองกับ action นี้จะเป็นไฟล์ app/views/con_name/action_name.rhtml
ไฟล์ rhtml นี้ก็คือไฟล์ html ที่อนุญาตให้แทรกโค้ด ruby เข้าไปได้ ระหว่างแท็ก <% %> เรียกว่า ERb (Embeded Ruby) เหมือนกับ php หรือ asp นั่นเอง
โดยรูปแบบนี้เองเราจะเห็นว่า controller กับ view นั้นทำงานใกล้ชิดกัน โดยเราจะกำหนดข้อมูลที่จะแสดงผลไว้ที่ attribute ของ controller ซึ่งเราสามารถดึงมาใช้ได้ที่ view
ตัวอย่างดังนี้ครับ
ฝั่ง controller (apt/controllers/say_controller.rb)
class SayController < ApplicationController
def hello
@time = Time.now
end
def goodbye
end
end
ที่ฝั่ง view (apt/views/say/hello.rhtml)
แทรกโค้ดนี้เข้าไปเพื่อแสดงเวลา
<%= @time %>
แทรกโค้ดนี้เข้าไปเพื่อแสดงลิงก์ไปยัง action goodbye
<%= link_to "Goodbye!" , :action => "goodbye" %>
เป็นตัวอย่างง่ายๆของการใช้งาน Rails ครับ
rails app_name
ซึ่งจะสร้าง directory ชื่อ app_name และไฟล์อะไรกระจุกกระจิกจำนวนหนึ่งซึ่งเราจะยังไม่สนใจตอนนี้
cd app_name
ทีนี้สร้าง controller โดยใช้คำสั่ง
ruby script/generate controller con_name
ซึ่งจะสร้างไฟล์หลายไฟล์เหมือนกัน แต่เราจะสนใจแค่อันเดียวก่อนคือ app/controllers/con_name_controllers.rb ซึ่งเป็น class กลวงๆอันนึง หากเราสร้าง method ขึ้นมาใน class นี้ จะเรียกว่าเป็น action
action นี้จะทำงานเมื่อเราเรียก http://host_name/con_name/action_name
แต่เราต้องกำหนดรูปแบบการแสดงผลให้ด้วยโดยการสร้าง view ขึ้นมา โดย view ที่จะตอบสนองกับ action นี้จะเป็นไฟล์ app/views/con_name/action_name.rhtml
ไฟล์ rhtml นี้ก็คือไฟล์ html ที่อนุญาตให้แทรกโค้ด ruby เข้าไปได้ ระหว่างแท็ก <% %> เรียกว่า ERb (Embeded Ruby) เหมือนกับ php หรือ asp นั่นเอง
โดยรูปแบบนี้เองเราจะเห็นว่า controller กับ view นั้นทำงานใกล้ชิดกัน โดยเราจะกำหนดข้อมูลที่จะแสดงผลไว้ที่ attribute ของ controller ซึ่งเราสามารถดึงมาใช้ได้ที่ view
ตัวอย่างดังนี้ครับ
ฝั่ง controller (apt/controllers/say_controller.rb)
class SayController < ApplicationController
def hello
@time = Time.now
end
def goodbye
end
end
ที่ฝั่ง view (apt/views/say/hello.rhtml)
แทรกโค้ดนี้เข้าไปเพื่อแสดงเวลา
<%= @time %>
แทรกโค้ดนี้เข้าไปเพื่อแสดงลิงก์ไปยัง action goodbye
<%= link_to "Goodbye!" , :action => "goodbye" %>
เป็นตัวอย่างง่ายๆของการใช้งาน Rails ครับ
วันพุธ, มิถุนายน 20, 2550
อ่าน Agile Web Development with Rails ( 1 )
// นี่คือชอร์ตโน้ตระหว่างอ่านเพื่อทบทวนความเข้าใจของตัวเอง
หากอ่านไม่รู้เรื่องขอให้ทำใจ ขออภัยในความไม่สะดวกไว้ ณ ที่นี้
สถาปัตยกรรมของ Rails อิงแนวคิด MVC ของลุง Trygve Reenskaug
คือ Model-View-Controller
Model จัดการข้อมูลและ Business Rules
View จัดการเรื่องการแสดงผล
Controller รับคำสั่งจากผู้ใช้ เพื่อไปประมวลผล
สำหรับ Rails คำสั่งจากผู้ใช้จะมาที่ Router ก่อน โดย Router จะส่งต่อคำสั่งไปยัง action ใน Controller ที่ใช้จัดการคำสั่งนั้น
หากมีส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลก็จะติดต่อกับส่วน Model ซึ่งใน Rails นี้คือ Active Record Model
ผลลัพธ์จะถูกนำเสนอสู่ผู้ใช้ทาง View ครับ
Active Record ของ Rails จะยึดตาม ORM (Object Relational Mapping) Layer การดีไซน์ฐานข้อมูลโดยเริ่มจาก Active Record Model ของ Rails เป็นความคิดที่ดีมาก เพราะสะดวกกับการเลือกใช้ DB Engine ที่หลากหลายในภายหลัง
View ใน Rails, dynamic content ที่สร้างจาก templating scheme มีอยู่ 3 แนวด้วยกัน
- rhtml ซึ่งเป็นวิธีพื้นฐานที่สุด แทรก ruby code ลงใน html เรียกว่า ERb (Embeded Ruby)
- rmxl ใช้ ruby code สร้าง xml
- rjs สร้าง javascipt code เพื่อให้ไปรันที่ฝั่ง browser เหมาะสำหรับ dynamic AJAX
Controller เป็นหัวใจของ application รับงานจาก user, ติดต่อกับ model, ส่งต่อไปให้ view แสดงผล, จัดการ session รับงานสารพัดสารเพทุกอย่างที่เหลือทั้งหมดแม้กระทั่งการจัดการ cache เพื่อเพิ่ม performance
หากอ่านไม่รู้เรื่องขอให้ทำใจ ขออภัยในความไม่สะดวกไว้ ณ ที่นี้
สถาปัตยกรรมของ Rails อิงแนวคิด MVC ของลุง Trygve Reenskaug
คือ Model-View-Controller
Model จัดการข้อมูลและ Business Rules
View จัดการเรื่องการแสดงผล
Controller รับคำสั่งจากผู้ใช้ เพื่อไปประมวลผล
สำหรับ Rails คำสั่งจากผู้ใช้จะมาที่ Router ก่อน โดย Router จะส่งต่อคำสั่งไปยัง action ใน Controller ที่ใช้จัดการคำสั่งนั้น
หากมีส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลก็จะติดต่อกับส่วน Model ซึ่งใน Rails นี้คือ Active Record Model
ผลลัพธ์จะถูกนำเสนอสู่ผู้ใช้ทาง View ครับ
Active Record ของ Rails จะยึดตาม ORM (Object Relational Mapping) Layer การดีไซน์ฐานข้อมูลโดยเริ่มจาก Active Record Model ของ Rails เป็นความคิดที่ดีมาก เพราะสะดวกกับการเลือกใช้ DB Engine ที่หลากหลายในภายหลัง
View ใน Rails, dynamic content ที่สร้างจาก templating scheme มีอยู่ 3 แนวด้วยกัน
- rhtml ซึ่งเป็นวิธีพื้นฐานที่สุด แทรก ruby code ลงใน html เรียกว่า ERb (Embeded Ruby)
- rmxl ใช้ ruby code สร้าง xml
- rjs สร้าง javascipt code เพื่อให้ไปรันที่ฝั่ง browser เหมาะสำหรับ dynamic AJAX
Controller เป็นหัวใจของ application รับงานจาก user, ติดต่อกับ model, ส่งต่อไปให้ view แสดงผล, จัดการ session รับงานสารพัดสารเพทุกอย่างที่เหลือทั้งหมดแม้กระทั่งการจัดการ cache เพื่อเพิ่ม performance
วันอังคาร, มิถุนายน 19, 2550
วิกฤติมาร
อันเนื่องมาแต่โคลงห้าพัฒนาของนายทิวาในกระทู้นี้
http://www.pantip.com/cafe/writer/topic/W5279514/W5279514.html
เขียนเป็นโคลงห้าด้อยพัฒนา เขียนแล้วรู้สึกว่าหนักเกินไป ไม่อยากลงในกระทู้หนังสือครูหนอน ขอหลบมาลงที่นี่แทน
วิกฤติมาร
ทุกหย่อมหญ้า วิกฤติ
มารสุมไฟ ท่วมฟ้า
หวังให้พัง ทับโลก
โฉดช้าบ้า สารเลว
อำนาจทั้ง เงินตรา
กอปรอัตตา แก่กล้า
คุณธรรม ลืมหมด
ขีดเส้นฟ้า กาหมาย
หวังว่ายเวิ้ง กลางหาว
กอบดวงดาว กลับบ้าน
ทับถมกอง สมบัติ
กี่ล้านล้าน จะพอ
ดับด่าวดิ้น แดดาย
ที่ฝังกาย อาจไร้
เพียงชื่อยัง ปรากฏ
คือผู้ใต้ ต่ำตีน ทุกตีน ฯ
http://www.pantip.com/cafe/writer/topic/W5279514/W5279514.html
เขียนเป็นโคลงห้าด้อยพัฒนา เขียนแล้วรู้สึกว่าหนักเกินไป ไม่อยากลงในกระทู้หนังสือครูหนอน ขอหลบมาลงที่นี่แทน
วิกฤติมาร
ทุกหย่อมหญ้า วิกฤติ
มารสุมไฟ ท่วมฟ้า
หวังให้พัง ทับโลก
โฉดช้าบ้า สารเลว
อำนาจทั้ง เงินตรา
กอปรอัตตา แก่กล้า
คุณธรรม ลืมหมด
ขีดเส้นฟ้า กาหมาย
หวังว่ายเวิ้ง กลางหาว
กอบดวงดาว กลับบ้าน
ทับถมกอง สมบัติ
กี่ล้านล้าน จะพอ
ดับด่าวดิ้น แดดาย
ที่ฝังกาย อาจไร้
เพียงชื่อยัง ปรากฏ
คือผู้ใต้ ต่ำตีน ทุกตีน ฯ
วันจันทร์, มิถุนายน 18, 2550
บทวิพากษ์งานแปลบันทึกโจวต้ากวานในเมืองโบราณ
เมืองโบราณฉบับล่าสุดมีบทวิพากษ์งานแปลบันทึกของโจวต้ากวาน
ผู้วิพากษ์เปรียบเทียบคุณภาพงานแปลของเฉลิมยงบุญเกิดโดยเปรียบเทียบกับฉบับแปลภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส!
แต่ผมว่าดูเป็นวิธีที่ไม่เข้าท่า ทำไมไม่เทียบกับฉบับจีนโดยตรง
เพราะการสรุปว่าเฉลิม ยงบุญเกิดแปลผิดเพราะเนื้อความไม่ตรงกับฉบับแปลภาษาอื่นๆ ดูจะเป็นตรรกะที่ไม่ถูกต้อง
ยกตัวอย่างบางข้อที่ชัดเจน เรื่องระดับน้ำที่เปลี่ยนแปลง เฉลิมแปลว่า 7-8 จ้าง ฉบับภาษาอังกฤษและฝรั่งเศสแปลตรงกันว่า 7-8 ฟาธอม ผู้วิพากษ์สรุปว่าเฉลิมแปลผิด
น่าจะลองคิดดูว่า วันที่โจวต้ากวานเขียนบันทึกนี้ ฝรั่งยังไม่มีบทบาทในดินแดนนี้เลย เต็มที่ก็มาร์โค โปโล(ซึ่งจนถึงทุกวันนี้ก็ยังสรุปกันไม่ได้ว่าได้มาอยู่ในราชสำนักจีนจริงหรือเปล่า)
แล้วทำไมจีนถึงต้องเอาหน่วยวัดตัวเองไปผูกกับฟาธอมของฝรั่งด้วย
ควรทบทวนครับ
ผู้วิพากษ์เปรียบเทียบคุณภาพงานแปลของเฉลิมยงบุญเกิดโดยเปรียบเทียบกับฉบับแปลภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส!
แต่ผมว่าดูเป็นวิธีที่ไม่เข้าท่า ทำไมไม่เทียบกับฉบับจีนโดยตรง
เพราะการสรุปว่าเฉลิม ยงบุญเกิดแปลผิดเพราะเนื้อความไม่ตรงกับฉบับแปลภาษาอื่นๆ ดูจะเป็นตรรกะที่ไม่ถูกต้อง
ยกตัวอย่างบางข้อที่ชัดเจน เรื่องระดับน้ำที่เปลี่ยนแปลง เฉลิมแปลว่า 7-8 จ้าง ฉบับภาษาอังกฤษและฝรั่งเศสแปลตรงกันว่า 7-8 ฟาธอม ผู้วิพากษ์สรุปว่าเฉลิมแปลผิด
น่าจะลองคิดดูว่า วันที่โจวต้ากวานเขียนบันทึกนี้ ฝรั่งยังไม่มีบทบาทในดินแดนนี้เลย เต็มที่ก็มาร์โค โปโล(ซึ่งจนถึงทุกวันนี้ก็ยังสรุปกันไม่ได้ว่าได้มาอยู่ในราชสำนักจีนจริงหรือเปล่า)
แล้วทำไมจีนถึงต้องเอาหน่วยวัดตัวเองไปผูกกับฟาธอมของฝรั่งด้วย
ควรทบทวนครับ
วันพุธ, มิถุนายน 13, 2550
แปลงฐานข้อมูล tis-620 เป็น utf8 (ภาค ๒)
จากเรื่องเดิม
http://crazyhorse-th.blogspot.com/2007/03/tis-620-utf-8.html
คราวนี้ต้องย้ายฐานข้อมูลเก่าที่เป็น tis-620 โดยรหัสดันเป็น latin1 ไปลง utf8 ใน MySQL5
มึนอยู่นาน สุดท้ายจัดการได้ง่ายๆ
1. dump ฐานข้อมูลเก่าออกมา
2. แปลงข้อมูลเป็น utf8 โ
http://crazyhorse-th.blogspot.com/2007/03/tis-620-utf-8.html
คราวนี้ต้องย้ายฐานข้อมูลเก่าที่เป็น tis-620 โดยรหัสดันเป็น latin1 ไปลง utf8 ใน MySQL5
มึนอยู่นาน สุดท้ายจัดการได้ง่ายๆ
1. dump ฐานข้อมูลเก่าออกมา
2. แปลงข้อมูลเป็น utf8 โ
ดย
iconv -f iso8859-11 -t utf8 -o dump_utf.sql dump.sql
3. เข้าไปแก้ dump file จาก latin1 ให้เป็น utf8 ให้หมด
4. import เข้าไปโดยกำหนดรหัสเป็น utf8
เรียบร้อยครับ
Powered by ScribeFire.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)